Knowledge - RISC

Knowledge

is Power

Highlight

(Not) the secret story of "snails"

(Not) the secret story of "snails"

By RISC | 4 years ago

In this rainy season, snails might be eating your favorite plants. They love the damp and move by night so we might not find them during the daytime. But today let’s look at what makes them special (rather than just a pest).- Snail fossils appear in the Cambrian Period 550 million years ago, in an era of invertebrates long before the Triassic period when dinosaurs walked the earth. ​- Snails have no ears but only 2 pairs of tentacles. The longer pair have light-sensitive eyespots. The shorter pair are used for sensing and smelling.- Snails each have two genders to boost their chance of reproducing. ​- Snails hibernate in winter in a coat of mucus. ​- Snails eat all kinds of plant and even plaster on walls, which contains calcium for their shells. ​Snails might not seem our friends. But studies show their value for ecosystems. The heavy metal in their tissues reflects toxins in an environment. So they can also be beneficial for us. ​Author/Editor: Kotchakorn Rattanama, Researcher, RISC References:1. จิรศักดิ์ สุจริต และ สมศักดิ์ ปัญหา. 2551. หอยทากบกในอุทยานแห่งชาติเขานัน. จัดพิมพ์โดยโครงการ BRT. โรงพิมพ์กรุงเทพ จำกัด กรุงเทพฯ. 111 หน้า ​2. จิรศักดิ์ สุจริต, ปิโยรส ทองเกิด เเละ สมศักดิ์ ปัญหา. 2561. หอยทากบก ทรัพยากรชีวภาพที่ทรงคุณค่าแห่งราชอาณาจักรไทย. จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์: สนับสนุนการวิจัย, สนง. กองทุน กรุงเทพฯ. 288 หน้า ​3. ข้อมูลจากเพจ วิทยาศาสตร์ทันโลก และภัยพิบัติในไทย: https://web.facebook.com/tsunamithailandCaltech/posts/2045459972184882?locale2=th_TH&_rdc=2&_rdr ​

73168 viewer
ก่อนทำบ้านให้เย็นสบาย .... เรามาเข้าใจสภาพภูมิอากาศกัน

ก่อนทำบ้านให้เย็นสบาย .... เรามาเข้าใจสภาพภูมิอากาศกัน

By RISC | 4 years ago

สวัสดีค่ะ ก่อนอื่นขอแนะนำตัวว่าเราเป็นทีมนักวิจัยฯ ของบริษัท แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเม้นต์  คอร์ปอเรชั่น จำกัด ที่จะมาเล่าเกร็ดต่างๆ ที่เกี่ยวกับการสร้างความสบายภายในบ้านในรูปแบบต่างๆ ให้กับเพื่อนผู้อ่านได้รับรู้เป็นตอนสั้นๆ เพื่อให้สามารถเข้าใจและนำเทคนิคต่างๆ ไปปรับใช้ได้ด้วยตัวเองกันนะคะ   เนื้อหาของตอนแรกนี้ ก่อนที่เราจะทำบ้านให้เย็นสบายกันนั้น ขอแนะนำให้ “รู้จัก” และ “เข้าใจ” เกี่ยวกับสภาพภูมิอากาศบ้านเรากันก่อนเพื่อการนำเทคนิคต่างๆ ไปใช้ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมต่อไปค่ะ แน่นอนว่าทุกคนคงอยู่ในเมืองไทย ที่มีสภาพอากาศอย่างนี้มาตั้งแต่เกิดแล้ว แต่คราวนี้เราจะมา “รู้และเข้าใจ” ที่มาของปัญหาการเกิดความร้อนจนอยู่ในบ้านแล้วรู้สึกไม่สบาย และความเข้าใจจะทำให้เรารู้ว่าจะจัดการกับสิ่งที่เป็นอยู่นี้อย่างไรให้เกิดความเย็นสบายกัน   สภาพอากาศบ้านเราเป็นยังไง ประเทศไทยของเรามีอุณหภูมิอากาศร้อนชื้นเกือบตลอดทั้งปี §  อุณหภูมิอากาศตอนกลางวันอยู่ระหว่าง 30-35 องศาเซลเซียส ความชื้นในอากาศ 50-70%RH §  ตอนกลางคืนอยู่ประมาณ 25-30 องศาเซลเซียส ความชื้นในอากาศ 70-90%RH โดยทั่วไปคนเราจะรู้สึกสบาย หรือที่เรียกว่า “สภาวะน่าสบาย” เมื่ออุณหภูมิอากาศอยู่ที่ 22-27 องศาเซลเซียส ความชื้นในอากาศ 20-75%RH ซึ่งสภาพอากาศบ้านเราไม่อยู่ในช่วงดังกล่าว ทำให้รู้สึกไม่สบายตัวอยู่ตลอดค่ะ แต่หากสามารถปรับสภาพแวดล้อมรอบบ้านด้วยร่มเงา ต้นไม้ และละอองน้ำ จะช่วยให้อุณหภูมิรอบบ้านลดลงได้ และอยู่ในทิศที่ลมพัดผ่านเข้าบ้าน ก็จะช่วยให้พัดพาอุณหภูมิที่เย็นลงนั้นเข้าบ้านมาสร้างความรู้สึกเย็นลงได้อีกด้วย   แล้วลมประจำ....พัดมาทางทิศไหน ความจริงแล้วลมจะมาจากทุกทิศทาง แต่จะมีทิศทางที่ลมพัดประจำอยู่ 2 ช่วงของปี คือ §  ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – กันยายน ลมประจำอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้และทิศใต้ §  ช่วงเดือนตุลาคม – มกราคม ลมประจำอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศเหนือ และขึ้นอยู่กับสภาพภูมิประเทศที่บ้านเราไปตั้งอยู่ด้วย เช่น ติดภูเขา แม่น้ำ หรืออาคารสูง ซึ่งจะทำให้ทิศทางของลมเปลี่ยนไปตามการกระทบและไหลของลม ช่วงเวลาที่เราต้องการลมเพื่อการสร้างความรู้สึกสบายจะเป็นช่วงฤดูร้อน หรือช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม ซึ่งมีทิศลมประจำอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้และทิศใต้ ดังนั้น ช่องเปิดของบ้านควรหันมาทางทิศนี้ แต่ควรมีการปรับสภาพแวดล้อมให้อุณหภูมิลดลงก่อน ด้วยการสร้างร่มเงา ปลูกหญ้า ต้นไม้ และการระเหยของน้ำ เพื่อให้ลมพัดพาอุณหภูมิที่เย็นลงแล้วนั้นเข้ามาสร้างความสบายภายในบ้าน แสงแดดมาพร้อมความร้อน...จากทางทิศไหน การขึ้น-ลงของดวงอาทิตย์มีผลต่อความร้อนโดยตรง แต่ละวันแสงแดดตอนเช้าเริ่มจากทางทิศตะวันออก อ้อมเอียงไปทางทิศใต้ (หรือเหนือ) และเอียงต่ำทางทิศตะวันตกในตอนเย็น §  แดดเอียงอ้อมไปทางทิศเหนือ ช่วงเดือนพฤษภาคม – สิงหาคม (4 เดือน) §  แดดเอียงอ้อมไปทางทิศใต้ ช่วงเดือนมกราคม – เมษายน และเดือนกันยายน – ธันวาคม (8 เดือน) การเอียงทำมุมกับอาคารนี้เองที่มีผลต่อการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่ตัวบ้าน หากเราเข้าใจจะสามารถหันทิศทางอาคารในทิศที่โดนแดดน้อยได้ หรือการบังแดดในทิศที่ได้รับอิทธิพลจากแสงแดดโดยตรง นอกจากนั้น ช่วงบ่ายที่มีอุณหภูมิสูงที่สุดของวันประกอบกับทิศทางการเอียงของแสงแดด ทำให้ทิศตะวันตกเฉียงใต้และทิศตะวันตกได้รับอิทธิพลจากแสงแดดเฉลี่ยมากที่สุดตลอดทั้งปี ดังนั้น อาคารต่างๆ ควรหลีกเลี่ยงการทำผนังในทิศตะวันตกเฉียงใต้และทิศตะวันตก เพื่อลดพื้นที่การรับอิทธิพลจากแสงแดดให้มากที่สุด   เมื่อเรา “รู้และเข้าใจ” สภาพอากาศบ้านเราแล้ว ตอนต่อไปจะเป็นการแนะนำเทคนิคทำให้บ้านของเราเย็นขึ้น แนวทางการออกแบบที่สามารถป้องกันหรือหลีกเลี่ยงความร้อนให้กับอาคาร พร้อมกับแนวทางการเพิ่มความรู้สึกสบายภายในอาคารกันนะคะ   แบ่งปันข้อมูล : ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเม้นต์  คอร์ปอเรชั่น จำกัด http://www.magnolia.co.th/th/project/story.php

28400 viewer
How much do amphibians and reptiles matter in real estate?​

How much do amphibians and reptiles matter in real estate?​

By RISC | 2 years ago

RISC 5 Research Hubs: Plants & Biodiversity HubYou mightn’t love amphibians and reptiles, but they’re vital for us. Frogs, toads, lizards, turtles, and snakes are crucial to urban ecosystems. They help balance the food chain as both predators and prey. They’re also bioindicators of healthy cities.Amphibians live in water and on land, which makes them vulnerable to any changes in their environment. Reptiles are also at risk because of their unique habitats. Water sources should therefore feature when developing green areas.RISC recently collaborated with Chulalongkorn University's Department of Biology, led by Asst. Prof. Pongchai Dumrongrojwatthana and Piyachat Yodngern, to study the diversity of amphibians and reptiles in a 30-rai green area of The Forestias where natural forest grows near to water sources.The survey began during the project's construction. Duttaphrynus melanostictus, Fejervaya limnocharis, Occidozyga martensii, Hoplobatrachus rugulosus, Rana erythraea, Kaloula pulchra, Microhyla heymonsi, Microhyla ficipes, and Polypedates leucomystax were discovered between October 2021 and March 2022. Blue-crested lizards, Oriental garden lizards, Tokay geckos, Hemidactylus platyurus, Sri Lankan lizards, Hemidactylus platyurus, and Malayemys were also found. There are signs that the project area’s ecosystem suits both groups of animal.But more research is needed to track changes. The data will be analyzed to manage the area to support natural habitats. RISC hopes that this research will benefit future urban green space development for biodiversity.Story by Thanawat Jinjaruk, Senior Researcher, Environment Division, RISC and Piyachat Yodngern, Intern from Department of Biology, Faculty of Science, Chulalongkorn UniversityReferences: ​Carey, C. and Alexander, M.A. 2003. Climate change and amphibian declines: Is there a link?. Diversity and Distribution. 9: 111–112.Kumar, D.T., Kumar, S.S. and Prasad, M.R. 2014. Current status and possible cases of reptile’s decline. International Research Journal of Environment Sciences. 3: 75–79.

20901 viewer
© 2024 Magnolia Quality Development Corporation Limited - A DTGO Company
Result
Confirmation
Confirmation